ChampOrdy
วันจันทร์ที่ 2 มิถุนายน พ.ศ. 2557
วันอาทิตย์ที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2556
LDAP Client + TLS on Linux (RHEL6.3)
LDAP Client + TLS on Linux (RHEL6.3)
จากที่เราทำ LDAP
Server กันไปเรียบร้อยแล้วคราวนี้เรามาทำ LDAP Client เพื่อ Connect
ไปยัง
LDAP Server ที่เราทำขึ้น
สามารถดูการทำ LDAP Server ได้ที่ http://champordy.blogspot.com/2013/12/ldap-servertls-on-rhel63.html
LDAP
Server : champordy.champordy.com
Base DN
: dc=champordy,dc=com
LDAP Server+TLS on Linux (RHEL6.3)
LDAP Server+TLS on Linux (RHEL6.3)
ตอนนี้เรามาทำ LDAP Server กันดีกว่า
เนื่องจากตอนนี้กำลังเตรียมเครื่องเพื่อติวให้พี่ๆ ที่บริษัทไปสอบ RHCSA
Certificate ซึ่งหนึ่งในแนวข้อสอบก็มีการต้องทำ LDAP Client จึงต้องทำ LDAP
Server เพื่อให้พี่ๆได้ ทดสอบและซ้อมมือกัน เรามาเริ่มกันเลยดีกว่า
Hostname
: champordy.champordy.com
Base DN
: dc=champordy,dc=com
CA Cert
: CHAMPORDY-CA-CERT
1.
Install Package openldap-servers และ migrationtools
yum install openldap-servers migrationtools
DNS Server (Master) on Linux (RHEL6.3)
DNS Server (Master) on Linux (RHEL6.3)
วันนี้จะมายกตัวอย่างการทำ
DNS Server domain champordy.com กันครับ
DNS คือ Domain Name Server ซึ่งเป็นการให้บริการที่ใช้ในการแปลงจากชื่อไปเป็นไอพีแอสเดรสและจากไอพีแอสเดรสไปเป็นชื่อเครื่อง
ใน Linux Server จะใช้โปรแกรมในการทำคือ Bind
ขั้นตอนการทำ DNS ดังนี้
ในที่นี้ IP Server : 192.168.245.150 Hostname : champordy Domain : champordy.com
วันเสาร์ที่ 7 ธันวาคม พ.ศ. 2556
DNS Caching Only Server on Linux (RHEL6.3)
DNS Caching Only Server on Linux (RHEL6.3)
DNS Caching Only คือ DNS Server ที่ให้บริการ Client
โดยทำหน้าที่ไปหาข้อมูลโดยถามไปยัง
DNS Server ตัวอื่นๆ มาให้กับ Client ที่ให้บรืการ
วิธีทำ DNS Caching Only ดังนี้
1.
Install Package bind (เป็น Package
ในการทำ
DNS)
yum install bind*
BONDING on LINUX (RHEL6.3)
BONDING on LINUX (RHEL6.3)
การทำ Bonding เป็นการทำให้หลายๆ Interface เป็น 1 Chanel
มี Mode ต่างๆ ดังนี้
-
Mode 0 (Balance-RR) เป็นการรับ-ส่งข้อมูลเป็นลำดับ
(Round Robin) กับแต่ละ Interface (ใช้สำหรับ Fault Tolerace และ Load
Balancing)
-
Mode 1 (Active-Standby) เป็นการรับ-ส่งข้อมูลที่
Interface ที่เป็น Master ส่วน Interface ที่เหลือเป็น Slave
จะ
Standby ไว้ ถ้า Interface ที่เป็น Master ใช้ไม่ได้ Interface
ที่เป็น
Slave จะขึ้นมาเป็น Master เพื่อทำงานแทน (ใช้สำหรับ Fault
Tolerace)
-
Mode 2 (Balance-XOR) เป็นการรับ-ส่งข้อมูลแต่ละ
Interface โดยใช้หลัก XOR เพื่อหา Interface ที่จะส่งข้อมูล
(ใช้สำหรับ Fault Tolerace และ Load Balancing)
-
Mode 3 (Boadcast) เป็นการส่งข้อมูลไปทุกๆ
Interface (ใช้สำหรับ Fault Tolerace)
-
Mode 4 (802.11 ad) เป็นการเพิ่ม Bandwidth
เหมาะการงานที่มีการส่งข้อมูลมากๆ
(ต้อง Support Link Aggregation และต้อง Set
Switch ให้ Interface ที่เข้ามาเป็น 802.11ad ด้วย และต้อง Support ethtool
และ
Support กับ Driver ด้วย)
-
Mode 5 (Balance-TLB) Adaptive Transmit Load
Balancing เป็นการเฉลี่ยข้อมูลส่งทางทุกๆ Interface แต่รับข้อมูลเพียง
Interface เดียว ถ้ามี Interface ใดเสียก็จะตัดออกจากการนำมาคำนวณค่าเฉลี่ย และถ้า
Interface ที่รับข้อมูลเสียก็จะเปลี่ยนไปใช้ Interface อื่นแทน (ต้อง Support
ethtool)
-
Mode 6 (Balance-ALB) Adaptive Load Balancing เป็นการเฉลี่ย
รับและส่งข้อมูลบนทุกๆ Interface ถ้ามี Interface ใดเสียก็จะตัดออกจากการคำนวณค่าเฉลี่ย
(ต้อง
Support ethtool และต้องรองรับการเปลี่ยน MAC Address ในระหว่างการใช้งาน)
วันพฤหัสบดีที่ 17 ตุลาคม พ.ศ. 2556
Rename eth Network Interface Device for Linux
Rename eth Network Interface Device for Linux
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)